ขุนพันธ์ - An Overview

"ทุกคนทราบกันดีอยู่ในวงการภาพยนตร์ มันทำให้บั่นทอนกำลังใจคนทำงาน" อนุชา กล่าว

แนะนำเพื่อนดูหนังฟรี! ไม่มีโฆษณาแชร์เลย!!

รศ. ศ. ดร. ในหมู่นักวิชาการอาจารย์มหาวิทยาลัยของประเทศไทยเวลานี้ด้วย)  

"คนที่ตัดสินคนสุดท้าย คือ คนดู โรงภาพยนตร์ก็ทำธุรกิจ เราเป็นคนผลิตภาพยนตร์ เราก็ทำธุรกิจเหมือนกัน ถ้าคนดูไม่ลดลง ไม่มีทางที่โรงเค้าจะให้โรงไม่เพียงพอ" พรชัย กล่าวพร้อมบอกว่า แต่อย่างไรก็ตาม ปัจจุบันอุตสาหกรรมภาพยนตร์เผชิญกับสภาวะที่ไม่ปกติหลังยุคโควิด อย่างในปัจจุบัน ที่หนังบางเรื่องไม่เฉพาะหนังไทย แต่ยังรวมถึงหนังต่างประเทศที่คนดูน้อยมาก

โดยเฉพาะเมื่อเป็นเรื่องในอดีตที่ผ่านมาแล้ว ใครจะเล่ายังไงก็ได้ บางทีคนที่ถูกเล่าว่า ‘ชั่วร้าย’ ต่างๆ นาน อาจไม่ได้ชั่วช้าสามานย์อย่างที่เล่า  และในทางกลับกัน  คนที่ได้รับการยกย่องว่า ‘ดี’ อาจไม่ได้เลิศลอยอย่างที่อวยกันไปไกลขนาดนั้น  มนุษย์เราก็แบบนี้ไม่มีดำ-ขาวแบบสัมบูรณ์

ไททานิคภาคนาซี โฆษณาชวนเชื่อที่จบเศร้ากว่าเรื่องจริง

ทั้งนี้เป็นเพราะการพัฒนาเพื่อต่อสู้กับขบวนการคอมมิวนิสต์ นำไปสู่การพัฒนาที่เน้นการขยายพื้นที่เมืองเข้าไปแทนที่ชนบท ราชการส่วนกลางเข้าไปยึดกุมพื้นที่ที่เคยเป็นพื้นที่ปลอดพ้นจากอำนาจรัฐและถูกใช้เป็นที่ซ่องสุมของโจรผู้ร้าย วิถีชนบทถูกรุกโจมตีด้วยค่านิยมแบบชนชั้นกลาง เสือในลุคคาวบอย ดูเป็นเรื่อง ‘เชย’ ‘บ้านนอก’ ‘ไม่ทันสมัย’ ความแมนแบบชายไทยแท้ๆ ชำนาญการใช้กำลังเตะต่อยตีรันฟันแทง ไม่เป็นที่ปรารถนาเท่าชายหุ่นหมีแต่เฟรนด์ลี่พร้อมเปย์และโอนไว (ไม่เชื่อลองถามสาวๆ ที่ไหนดูก็ได้)       

อนุชา บุญยวรรธนะ นายกสมาคมผู้กำกับภาพยนตร์ไทย ชี้ให้เห็นว่า นี่เป็นปัญหาที่มีหลายเรื่องต่อเนื่องกันมา โดยหลัก ๆ แล้วปัญหาอยู่ที่การผูกขาดของระบบโรงภาพยนตร์ ทั้งในแนวระนาบและแนวดิ่ง

Internet Explorer is not supported by EventRegist's website along with your software can not be submitted correctly.

"ที่สุดแล้ว การทำโปรแกรมมิ่งของโรงภาพยนตร์ในประเทศไทย ไม่ได้เอื้อต่อการสร้างวัฒนธรรมการดูหนังที่ดีเท่าไหร่ ไม่ได้เป็นหนังที่หลากหลาย more info หรือหลายประเภทที่มีความน่าสนใจ นอกเหนือไปจากหนังตลาดที่คนดูชอบดูอยู่แล้ว ก็จะถ่ายเทโรงให้กับโรงเหล่านั้น เพราะหนังดราม่า หนังแนวรางวัล หรือหนังที่มีความชาเลนจ์กับสังคมและคนดู จะไม่ค่อยทำรายได้เท่าไหร่ ซึ่งมันเป็นผลจากการโปรแกรมมิ่งของโรงหนัง ที่ทำหน้าที่ตรงนี้ได้ไม่ดีพอ"

อดีตนายตำรวจชื่อดังของวงการตำรวจไทย

ขณะที่ภายในประเทศไทย แรงงานก็ถูกแทนที่ด้วยแรงงานต่างชาติจากพม่า ไทใหญ่ ลาว กัมพูชา มากขึ้นเรื่อยๆ  แรงงานต่างชาติเหล่านี้กลายเป็น ‘กลุ่มผู้ไร้สิทธิไม่มีเสียง’ ขนาดใหญ่ เมื่อเกิดปัญหา ไม่ได้รับความเป็นธรรม ประกอบกับลักษณะความสัมพันธ์ต่อพื้นที่เป็นเพียงแหล่งทำงานหาเงิน เจ้าของคือนายจ้าง  สังคมไทยๆ ก็มักมีอคติต่อแรงงานพลัดถิ่นอยู่เป็นทุนเดิมอยู่แล้ว โอกาสและเงื่อนไขที่จะก่ออาชกรรมความรุนแรงต่างๆ จึงมักเริ่มต้นจากคนกลุ่มนี้ 

แม้แต่ในบทภาพยนตร์ การสนทนาระหว่างขุนพันธ์กับอะแวสะดอ ตาเละ ก็ยังสะท้อนให้เห็นความชอบธรรมที่ฝ่ายโจรมีมากกว่าเจ้าหน้าที่รัฐ อะแวสะดอ ตาเละ (รับบทโดยน้อย กฤษดา สุโกศล โคแวค หรือ น้อย วงพรู) ชี้หน้าด่าขุนพันธ์ (ที่รับบทโดยอนันดา เอฟเวอริ่งแฮม) ด้วยท่าทีองอาจพร้อมกับกล่าวว่า

‘เสือ’ ที่ใช้เป็นสรรพนามคน มักจะบ่งชี้ว่าบุคคลนั้นมีลักษณะในทางดุร้าย แต่ก็เป็นที่ยำเกรงของผู้คนไปด้วยในตัว (ในแง่นี้จึงใช้ ‘แมว’ หรือ ‘หมา’ ไม่ได้)  ไม่ใช่พฤติกรรมหรือลักษณะที่จะพบเห็นได้ในคนทุกคน มักเป็นคนที่มีบุคลิกหรือเรื่องเล่าผิดแผกพิสดารมหัศจรรย์พันลึกไปกว่าคนอื่นๆ ไม่ใช่คนปกติเดินดินกินก๊วยเตี๋ยว เป็นมนุษย์พิเศษที่แม้ไม่ถึงกับเหาะเหินเดินอากาศได้ แต่ก็สามารถทำในสิ่งที่คนทั่วไปทำไม่ได้ อาจจะเรียกตามศัพท์สมัยนี้ได้ว่า ‘ทรงอย่างแบด’ อะไรประมาณนั้น   

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15

Comments on “ขุนพันธ์ - An Overview”

Leave a Reply

Gravatar